วันพุธที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

อ่านความรู้เพิ่มเติมกัน

https://www.facebook.com/UPYaMingKaLaBa?fref=nf

บทความที่น่าสนใจ
http://www.thaiheart.org/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%88/guideline.html

AF
http://circ.ahajournals.org/content/early/2014/03/27/CIR.0000000000000041.full.pdf
ยาจิตเวช
https://dl.dropboxusercontent.com/u/3810633/Recommendations_v1.0_for_web.pdf
็Heart failure
http://www.thaiheart.org/images/column_1291454908/CHFGuideline.pdf
http://www.thaiheart.org/images/column_1291454908/RehabGuideline.pdf

IHD
http://www.thaiheart.org/images/column_1291454908/CADGuideline.pdf


HT




http://www.thaiheart.org/images/column_1291454908/CHFGuideline.pdf

In the general nonblack population, including those with diabetes, initial antihypertensive treatment should include a thiazide-type diuretic, CCBACE inhibitor, or ARB. (Moderate Recommendation–Grade B) This recommendation is different from the JNC 7 in which the panel recommended thiazide-type diuretics as initial therapy for most patients.

ยาที่ใช้ในคนท้อง

The United States Food and Drug Administration ,FDA -- Pregnancy Category A , B , C , D และ X

Pregnancy Category A จากการศึกษาในมนุษย์พบว่าไม่มีความเสี่ยงในการก่อให้เกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์เมื่อใช้ในช่วง 3 เดือนแรก และไม่มีหลักฐานทางวิชาการที่แสดงให้เห็นว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดความผิดปกติของทารกในครรภ์เมื่อใช้ในช่วงไตรมาสที่ 2 และ3 ดังนั้นยาที่จัดอยู่ในประเภทนี้สตรีมีครรภ์จึงสามารถใช้ได้อย่างปลอดภัย

Pregnancy Category B จากการศึกษาในสัตว์พบว่ายาที่จัดอยู่ในประเภทนี้ไม่มีความเสี่ยงในการทำให้เกิดความผิดปกติของตัวอ่อนในครรภ์ แต่ไม่มีการศึกษาในมนุษย์ ดังนั้นยาที่จัดอยู่ในประเภทนี้สามารถใช้ในสตรีมีครรภ์ได้อย่างปลอดภัย

Pregnancy Category C จากการศึกษาในสัตว์พบว่ายาที่จัดอยู่ในประเภทนี้ทำให้เกิดความผิดปกติต่อตัวอ่อนในครรภ์ แต่ไม่มีการศึกษาในมนุษย์ ดังนั้นการจะใช้ยาในประเภทนี้ควรใช้เมื่อมีการประเมินจากแพทย์ระหว่างประโยชน์ที่ได้จากการใช้ยาและความเสี่ยงต่อความผิดปกติของทารกในครรภ์ว่าเกิดประโยชน์มากกว่าความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
ส่วนอีกความหมายคือ ไม่มีการศึกษาในมนุษย์และสัตว์ทดลอง ดังนั้นการใช้ยาในประเภทนี้ควรใช้เมื่อเกิด
ประโยชน์จากการใช้ยา มากกว่าความเสี่ยงต่อความผิดปกติของทารกในครรภ์

Pregnancy Category D ยาที่จัดอยู่ในประเภทนี้มีความเสี่ยงในการก่อให้เกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์
ดังนั้นยาในกลุ่มนี้จะใช้ก็ต่อเมื่อมีการพิจารณาแล้วว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์มากกว่าความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ ซึ่งมักจะเป็นการใช้ยาเพื่อช่วยชีวิตมารดาหรือเป็นการใช้ยาเพื่อรักษาโรคที่รุนแรงซึ่งไม่สามารถใช้ยาที่ปลอดภัยมากกว่าได้หรือไม่ได้ผลตามที่ต้องการ

Pregnancy Category X จากการศึกษาในสัตว์หรือมนุษย์พบว่ายาที่จัดอยู่ในประเภทนี้ทำให้เกิดความผิดปกติของตัวอ่อนหรือทารกในครรภ์ และมีความเสี่ยงในการเกิดความผิดปกติมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับจากยา ดังนั้นยาในประเภทนี้จัดเป็นยาที่ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์หรือในสตรีที่มีความเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์
ดังนั้นการจ่ายยา Pregnancy Category C ในหญิงตั้งครรภ์ 1-3 เดือน จะขึ้นอยู่กับการประเมินของแพทย์ ระหว่างประโยชน์ที่ได้จากการใช้ยาและความเสี่ยงในการเกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์ ว่าจะเกิดผลอย่างไรมากกว่ากัน ซึ่งถ้าหากมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาในกลุ่ม Pregnancy Category C และไม่สามารถใช้ยาใน Category A หรือ Category B ได้แล้ว รวมทั้งได้ประเมินอย่างรอบคอบว่าเกิดประโยชน์ในการรักษามากกว่าความเสี่ยงในการเกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์ 

References1. Gerald G. Briggs, B. Pharm, Drugs in Pregnancy and Lactation, 7th ed. Lippincott Williams & Wilkins, 2005, xxi - xxviCharles F. Lacy, RPh, PharmD, Drug Information Handbook International, 12th ed. Lexi-Comp Inc, 2004, 516
2. Kirsten K. Novak, Drug Facts and Comparisons, 59th ed. Wolters Kluwer Health Inc, 2003, A4
3. Breastfeeding and maternal medication. Department of Child and Adolescent Health and Development,World Health Organization,2003.
4. Weiner CP. Drugs for pregnant and lactating woman. 2nd ediotion 2009.
5. Briggs GG, Freeman RK, Yaffe SJ. Drugs in pregnancy and lactation. 8th edition.
6. การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ : คิดก่อนใช้ ใ นพ. ประทักษ์ โอประเสริฐศักดิ์ .วารสารคลินิก เล่มที่ 222 หน้า 520-523
7.http://competencyrx.com/index.php?option=com_content&view=article&id=108:2010-05-11-08-11-33&catid=48:2010-03-22-09-59-11&Itemid=101


Antibacterials  (β-lactam drugs)US FDA Pregnancy Category
AmoxicillinB
Amoxicillin+clavulanic  (Augmentin®)B
AmpicillinB
Ampicillin sodium + Sulbactam (Unasyn®)B
CloxacillinB
CephalexineB
CefazolinB
Cefuroxime (Zinnat ®)B
CeftazidimeB
CeftriaxoneB
Cefdinir (Omnicef®)B
Cefditoren (Meiact®)B
Cefixime (cefspan®)B
Cefoperazone + sulbactam (sulperazone®)B
Imipenem + cilastatin (Tienam®)C
Meropenem  (Meronem) ®B
Ertapenem  (Invanz®)B


Quinolone
Norfloxacin ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์ โดยเฉพาะไตรมาสที 1C
CiprofloxacinC
Ofloxacin ห้ามใช้ในหญิงตั ้งครรภ์ โดยเฉพาะไตรมาสที 1C
Levofloxacin (Cravit®)ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์ โดยเฉพาะไตรมาสที 1C
Moxifloxacin (Avelox®)C


Macrolide
ErythromycinB
Roxithromycin (Rulid®)B
Clarithromycin (Klacid®, Crixan®)C
Azithromycin (Zithromax®)B



Other antibacterial
TetracyclinD
DoxycyclinD
Clindamycin (Dalacin C®)B
Metronidazole (Flagyl®)B
ChloramphenicolC
Trimethoprim-Sulfamethoxazole (Bactrim®)C


Aminoglycoside
GentamycinC
AmikacinD
NetilmycinD
StreptomycinD
NeomycinC

Antiviral drugs
AcyclovirB
ValacyclovirB
GanciclovirC
Oseltamivir (Tamiflu®)C

Antifungal drugsCo-trimoxazole PO, Parenteral C
Itraconazole (Sporal®)C
Fluconazole (Diflucan®)C
KetoconazoleC
Clotrimazole V.T (Fungiderm®)B/C(Troches)
GriseofulvinC
NystatinC

Anthelminthics
AlbendazoleC
MebendazoleC
PraziquantelB


Analgesics
ParacetamolB
MorphineC
PethidineC/D(prolonged use or high doses at term)
Tramadol (Tramal®)
Nonsteroidal Anti-Inflammatory Drugs (NSAIDs)
Pethidine Parenteral B D; เมือใช้เป็ นระยะ เวลานาน หรือขนาดยาสูง ในช่วงใกล้คลอด

Diclofenac (Votaren®)D; เมือใช้ในไตรมาสที หรือช่วงใกล้คลอดB
Ibuprofen (Brufen®)B/ D(in 3rd trimester or near delivery)
Mefenamic (Ponstan®)C/ D(in 3rd trimester or near delivery)
Meloxicam (Mobic®)C/ D(in 3rd trimester or near delivery)
Piroxicam (Feldene®,Brexin®)C/ D(in 3rd trimester or near delivery)
Naproxen (Synflex®)C/ D(in 3rd trimester or near delivery)
Indomethacin(Indocid®)D; เมือใช้ > 48 ชัวโมง หรือ หลัง 34 สัปดาห์ หรือใกล้ คลอดB/ D (3rd trimester)
Sulindac (Clinoril®)B/D(in 3rd trimester or near delivery)
Celecoxib (Celebrex®)C
Parecoxib (Dynastat®) D; เมือใช้ในไตรมาสทีหรือช่วงใกล้คลอดC
C

Antimigraine
Ergotamine (Cafergot®)X
Zolmitriptan(Zomig®)C


Antiallergics and drugs used in anaphylaxis
DexamethasoneC
HydrocortisoneC
PrednisoloneC/D (prolong use)

Antihistamine
Chlorpheniramine (CPM)B
Diphenhydramine(Benadryl®)B
Hydroxyzine (Atarax®)C
Doxepine (Sinequan®)C
Cetirizine (Zyrtec®)B
Loratadine (Clarityne®)B
Desloratadine (Aerius®)C
Fexofenadine (Telfast®)C
Triprolidine/Pseudoephedrine(Actifed®)C/C

Antitussives ; Expectorants
Acetylcysteine (Fluimucil®, Mysoven®, Nac long®)B
Codeine/Guaifenesin  (Ropect®)C/C
Dextromethorphan (Romilar®)C
Bromhexine(Bisolvon®)B
Carbosysteine (Flemex®)
URI
Codeine PO C
B

Antiasthmatic drugs
Salbutamol (Ventolin®)C
Theophylline (Theo-dur®)C
Procaterol hydrochloride (Meptin)-
Salmeterol + fluticasone (Seretide®)C
Montelukast sodium (Singulair®)B


C

Dyspepsia
Alum milk (Aluminium + magnesium)C
CimetidineB
Simeticone (Air-x®)C
RanitidineB
Esomeprazole (Nexium®)B
Pantoprazole (Controloc®)B
Lantoprazole (Prevacid®)B
Rabeprazole (Pariet®)B
Omeprazole(Miracid®)C
SucrafateB

Anti-emetic
DimenhydrinateB
Domperidone (Motilium M®)C
Metoclopramide (Plasil®)B
Ondansetron (Onsia®)B
Hyoscine (Buscopan®)C

Anti –Diarrheals
Loperamide(Imodium®)B
Diphenoxylate/atropine(Lomotil®)C/C
Activated charcoal (Ultracarbon®)C
Dioctahedral smectite (Smectra®)สามารถใช้ในหญิงตั้งครรภ์ได้ ยาไม่ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด

Antispasmodics
Hyoscine-N-butylbromide (Buscopan)C
Mebeverine(Colofac)B
Flavoxate (Urispas)Chlordiazepoxide + Clidinium bromide Librax® PO DB

Laxatives
1.Bulk-forming laxative
Psyllium  (Mucillin®)B
Macrogol (Forlax®)C
2.Stimulant
Senna (Senokot®)C
Bisacodyl (Dulcolax®)B/C
Castor oil (น้ำมันละหุ่ง)_
3.Osmotic laxatives
Glycerin suppositoriesC
Magnesium Hydroxide (Milk of magnesia®)B
Lactulose (Duphalac®)B
4.Lubricants
Mineral oil (Liquid paraffin)B
5.Stool softener
Docusate sodiumC

Tranquilizers
Alprazolam PO D
Nortriptyline PO D
Lorazepam PO D
Clonazepam PO, Parenteral D
Midazolam Dormicum® Parenteral D
Diazepam PO, Parenteral D
Clorazepate Tranxene® PO D
Midazolam Dormicum® Parenteral D


DiazepamD
Alprazolam (Xanax®)D
Clonazepam (Rivotril®)D

Anticonvulsants/Antiepileptics
PhenobarbitalD
Phenytoin (Dilantin®)D
Valproic acid (Depakin®)D
Carbamazepine (Tegretol®)D
Gabapentin (Neurontin®)C

Antidepression
AmitriptylineC
Doxepin (Sinequan®)C
Duloxetine (Cymbalta®)C
Fluoxetine (Prozac®)C
NortriptylineC
Sertraline (Zoloft®)C
Venlafaxine (Efexor XR®)

Minerals
Isotretinoin PO X
Vitamin A PO X
Vitamin D PO A D; เมือใช้ขนาดยาสูงกว่า RDA

ลดไขมัน
Atrovastatin Lipitor® PO X
Simvastatin PO X
Rosuvastatin Crestor® PO X
Valsartan Diovan® PO C D; เมือใช้ในไตรมาสที2, 3

Antihypertension drug
Finasteride Firide®, Proscar® PO X
Amiloride PO B D; if used in pregnancy - induced HTN
Amiodarone Cordarone® PO, Parenteral D
Aspirin PO C D; เมื่อใช้ขนาดสูง ในไตร มาสที่ 3
Carvedilol Dilatrend® PO C D; เมื่อใช้ในไตรมาสที่2, 3
Enalapril PO C
Furosemide PO, Parenteral C D; if used in pregnancy - induced HTN
Hydrochlorothiazide PO B D; if used in pregnancy - induced HTN
Captopril PO C D; เมือใช้ในไตรมาสที2, 3
Labetalol Avexa® Parenteral C D; เมือใช้ในไตรมาสที 2, 3
Atenolol PO D
Losartan Cozaar® PO C
Metoprolol Betaloc® PO C D; เมือใช้ในไตรมาสที2, 3
Spironolactone PO C D; if used in pregnancy – induced HTN
Propanolol PO C D; เมือใช้ในไตรมาสที2, 3Propanolol PO C D; เมือใช้ในไตรมาสที2, 3Propanolol PO C D; เมือใช้ในไตรมาสที2, 3

Gout
Colchicine PO D


ENT
Framycetin + Gramicidin + Dexamethasone Sofradex® Eye drop, Ear drop C D; เมือใช้ในไตรมาสที1
Neomycin + Polymyxin + Hydrocortisone Poly-oph® Eye drop C D; เมือใช้ในไตรมาสที 1
Tobramycin Tobrex® Eye drop D
Timolol Eye drop C D; เมือใช้ในไตรมาสที2, 3
 
Steriods
Dexamethasone PO, Parenteral C D; เมือใช้ในไตรมาสที 1
Triamcinolone Kenacort® Parenteral C D; เมือใช้ในไตรมาสที1Prednisolone PO, Eye drop C D; เมือใช้ในไตรมาสที1
Betamethasone PO, Parenteral, Topical C D; เมือใช้ในไตรมาสที1
Hydrocortisone PO, Parenteral C D; เมือใช้ในไตรมาสที 1


 

Thyroids
Methimazole PO D
Propylthiouracil PO D

C

วัคซีนผู้ใหญ่

http://www.pidst.net/userfiles/vaccine.pdf



Footnotes:
1. วัคซีนหลายชนิดสามารถให้พร้อมกันในวันเดียวได้แต่ต้องฉีดในตำาแหน่งที่ต่างกันและไม่นำาวัคซีนมาผสมกัน สำาหรับวัคซีนชนิดเชื้อเป็น (live-attenuated vaccine) 
ไม่ควรให้แก่หญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือกำาลังได้รับยากดภูมิคุ้มกันและผู้ที่เพิ่งได้รับผลิตภัณฑ์ของเลือดไม่เกิน 3 เดือน 
2. การให้วัคซีน Td ทุก 10 ปี (ในกรณีที่ไม่มี Td อาจใช้ TT ฉีดแทนได้) ตั้งแต่วัยรุ่นจะมีส่วนช่วยในการสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันโรคนี้ในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ การฉีดเข็ม กระตุ้น Td ในผู้ใหญ่มักกำาหนดให้ฉีดทุก 10 ปี และแนะนำาให้ฉีดวัคซีน Td แทนการใช้ TT ในเวชปฏิบัติทั่วไป 
3. อาจพิจารณาให้วัคซีนรวม Tdap เป็นการให้วัคซีนเข็มกระตุ้นโรคไอกรนในวัยรุ่น 1 ครั้งแทนการฉีดวัคซีน Td หรือ TT และหลายประเทศแนะนำาให้ฉีด Tdap ในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุแทน Td หรือ TT 1 ครั้งในช่วงชีวิตด้วย อาจพิจารณาให้วัคซีน Tdap 1 เข็ม ให้แก่หญิงตั้งครรภ์ในช่วงอายุครรภ์ 27-36 สัปดาห์แทน Td หรือ 
TT หรืออาจฉีด Tdap ทันทีหลังคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อไอกรนในทารก
4. ควรพิจารณาให้วัคซีนแก่ผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคและมีโอกาสสัมผัสและกระจายเชื้อมากเช่น บุคลากรทางการแพทย์ ครูหรือผู้ที่เลี้ยงเด็กจำานวนมาก หญิงวัยเจริญพันธุ์
ที่ยังไม่ต้องการตั้งครรภ์ ในกรณีที่ไม่ทราบหรือไม่มีประวัติเคยเป็นมาก่อนควรตรวจภูมิคุ้มกันโรคอีสุกอีใสก่อนให้วัคซีน ไม่มีความจำาเป็นต้องตรวจหาภูมิคุ้มกันภายหลัง ได้รับวัคซีน
5. ควรได้รับวัคซีนหัดโดยแนะนำาให้ฉีดวัคซีน MMR 1 เข็ม และกระตุ้นอีก1 เข็มห่างจากเข็มแรกอย่างน้อย 4 สัปดาห์ ในกรณีผู้ที่เรียนระดับอุดมศึกษาสัมผัสใกล้ชิด
กับผู้ป่วยโรคหัด หรือกำาลังมีโรคหัดระบาด รวมทั้งนักเรียนที่ต้องเดินทางไปศึกษาต่อต่างประเทศ บุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคหัดควรได้รับการฉีดวัคซีน
6. วัคซีนป้องกันเอชพีวีที่ใช้มี 2 ชนิด ได้แก่ วัคซีนเอชพีวีชนิด 4 สายพันธุ์ได้แก่ สายพันธุ์ 6,11,16 และ18 และวัคซีนเอชพีวีชนิด 2 สายพันธุ์ คือสายพันธุ์ 16 และ 18 ป้องกันมะเร็งปากมดลูก (ที่เกิดจากเชื้อ HPV 16,18) วัคซีนทั้งสองชนิดมีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อ HPV ป้องกันการคงอยู่ของเชื้อที่เกิดจากสายพันธุ์ ในวัคซีนและป้องกันรอยโรคก่อนเป็นมะเร็งปากมดลูก แนะนำาให้วัคซีนป้องกันเอชพีวีแก่เด็กวัยรุ่นหญิง ผู้หญิงอายุ 9-26 ปี ถึงแม้ว่าจะฉีดวัคซีนแล้วก็ควรให้คำาแนะนำา
เรื่องการมี safe sex และต้องมารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสมำ่าเสมอ 
7. แนะนำาฉีดวัคซีนเอชพีวีชนิด 4 สายพันธุ์แก่ผู้ชายที่มีอายุ 19-26 ปี โดยเฉพาะกลุ่ม ชายรักร่วมเพศเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชพีวีบริเวณทวารหนักและมะเร็งบริเวณ
ทวารหนักและอวัยวะเพศ
8. วัคซีนที่ใช้ในประเทศไทยในปัจจุบันเป็นชนิด 3 สายพันธุ์ได้แก่ split virion vaccine และ subunit vaccine เป็นวัคซีนที่ใช้ในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัด
ใหญ่ประจำาปี ดังนั้นจึงต้องฉีดวัคซีนทุกปีแม้จะเป็นสายพันธุ์เดิมของวัคซีนที่เคยฉีดก่อนหน้านี้ การให้วัคซีนแนะนำาให้ใช้โดยการฉีดเข้ากล้ามบริเวณต้นแขน ปัจจุบันมี
วัคซีนชนิด 3 สายพันธุ์ ฉีดเข้าในหนัง (intradermal route) พบว่าการฉีดเข้าในหนังให้ภูมิคุ้มกันที่ดีในผู้สูงอายุแต่อาจพบว่าผลข้างเคียงเฉพาะที่มากกว่าการฉีดวัคซีน
เข้ากล้าม สามารถใช้วัคซีนทั้งของซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ฉีดป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ได้ในประเทศไทย วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ไม่ควรให้แก่ผู้ที่มีประวัติแพ้ไข่
รุนแรงหรือผู้ที่มีประวัติเป็น Guillain–Barre syndrome มาก่อน สามารถให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ร่วมกับวัคซีนอื่นๆ ได้ในเวลาเดียวกันโดยฉีดวัคซีนคนละข้าง
ของต้นแขน 
9. กลุ่มประชากรที่ควรหรือมีข้อบ่งชี้ในการได้รับวัคซีนได้แก่ กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่อาจเกิดโรคแทรกซ้อนหรือมีอาการไข้หวัดใหญ่รุนแรง ได้แก่ บุคคลที่อายุ 65 ปี ขึ้นไป บุคคลที่เป็นโรค COPD รวมทั้งโรคหอบหืด โรคหัวใจ บุคคลที่ต้องเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาลอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งจากโรคเรื้อรังได้แก่ โรคเบาหวาน โรคไต โรคเลือด หรือมีภูมิคุ้มกันบกพร่อง รวมทั้งผู้ที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ในช่วงไตรมาสที่ 2 และ 3 กลุ่มที่สามารถแพร่โรคไปสู่กลุ่มเสี่ยงสูง 
(บุคลากรทางการแพทย์และห้องปฏิบัติการ) บุคคลที่พักอยู่ในบ้านเดียวกับประชากรที่มีความเสี่ยงสูง)และควรพิจารณาให้ในประชาชนทั่วๆ ไปที่ประสงค์จะป้องกัน โรคนี้ได้
10. การให้วัคซีนป้องไวรัสตับอักเสบเอจะเน้นไปที่วัยรุ่นและผู้ใหญ่ตอนต้น วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบเอ ควรฉีดที่กล้ามเนื้อต้นแขน โดยฉีด 2 ครั้งห่างกัน 6-12 เดือน นอกจากนี้ยังมีวัคซีนผสมระหว่างตับอักเสบเอและบีแต่ต้องให้ 3 ครั้ง (0,1และ 6 เดือน) ทางกล้ามเนื้อต้นแขน โดยทั่วไปไม่ต้องตรวจ anti HAV หลังการฉีดวัคซีน ครบตามกำาหนด
11. การฉีดวัคซีนป้องกันตับอักเสบบีมักแนะนำาในผู้ที่อยู่ในกลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดโรคได้ง่าย ได้แก่ ผู้ติดยาเสพติด รักร่วมเพศ ผู้ป่วยโรคไตที่ทำาการฟอกไต ผู้ป่วยที่ได้รับ 
เลือดบ่อย บุคคลในครอบครัวที่ตรวจพบไวรัสตับอักเสบบี แพทย์ หรือทันตแพทย์ หรือบุคคลที่ทำางานสัมผัสกับเลือด ฉีดวัคซีนเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน 3 ครั้งที่ 0, 1 
และ 6 เดือน โดยทั่วไปการตรวจ antiHBs หลังการฉีดวัคซีนครบตามกำาหนด 1 เดือนไม่มีความจำาเป็น จะตรวจเลือดเมื่อผู้นั้นมีความเสี่ยงสูงที่จะติดโรคเช่น บุคลากร
ทางการแพทย์ 
12. ข้อบ่งชี้ของการใช้วัคซีน PPV-23 คือ บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือผู้ที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหากมีการติดเชื้อ ได้แก่ อายุมากกว่า 65 ปี อายุ
มากกว่า 2 ปี - 65 ปีที่มีภาวะ anatomic or functional asplenia, ผู้ที่มีโรคประจำาตัวเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวานที่มีการควบคุมระดับนำ้าตาลในเลือดไม่ดี โรคหัวใจวาย 
cardiomyopathy, COPD, โรคตับแข็ง โรคไตวายเรื้อรัง มีการรั่วของนำ้าไขสันหลัง โรคหอบหืด ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำา บุคคลที่มีภาวะ severe immunosuppressive 
state (ข้อ17) และ ผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะหรือไขกระดูก ส่วนการพิจารณาให้ฉีดซำ้า 1 ครั้งมีข้อบ่งชี้คือ ฉีดหลังจากเข็มแรก 5 ปีในกรณีผู้ป่วยที่ไม่มีม้าม หรือ
ฉีดวัคซีนซำ้าในอายุ 65 ปีกรณีผู้ป่วยที่เคยได้รับวัคซีนเข็มแรกก่อนอายุ 65 ปี การแนะนำาให้ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นโดยใช้วัคซีน PCV-13 ภายหลังการได้รับวัคซีน PPV-23 
แก่ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องเพื่อให้มีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อสูงขึ้นต้องฉีดภายหลังได้รับวัคซีน PPV-23 ไม่น้อยกว่า 1 ปี 
13. ข้อบ่งชี้ของการใช้วัคซีน PCV-13 คือ บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือผู้ที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหากมีการติดเชื้อโดยพิจารณาฉีดแก่ผู้ใหญ่และ ผู้สูงอายุ ควรเลือกใช้วัคซีนชนิด PCV-13 ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้ของการฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อนิวโมคอคคัสโดยเฉพาะในผู้ที่มีโรคประจำาตัวเรื้อรังหรือผู้ที่มีภาวะ
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง แนะนำาให้ฉีดเข้ากล้าม 1 เข็มและยังไม่มีคำาแนะนำาให้ฉีดกระตุ้นโดยใช้วัคซีน PCV-13 ในคนทั่วไป การแนะนำาให้ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นด้วยวัคซีน 
PPV-23 ภายหลังการได้รับวัคซีน PCV-13 แก่ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องเพื่อให้สามารถครอบคลุมการติดเชื้อจากสายพันธุ์อื่นได้มากขึ้นต้องฉีดภายหลังจากการ
ได้รับวัคซีน PCV-13 ไม่น้อยกว่า 2 เดือน 
14. พิจารณาความจำาเป็นในการได้รับวัคซีนเกี่ยวกับการเดินทางอื่นๆ การแนะนำาวัคซีนในผู้เดินทางต้องคำานึงถึง ประวัติรับวัคซีน ประเทศหรือพื้นที่ที่จะไป แผนการ
เดินทาง ระยะเวลาที่จะเดินทาง 
15. อุบัติการณ์ของการติดเชื้อในประเทศไทยมีประปรายไม่มาก พบว่าร้อยละ 70 ของเชื้อก่อโรคจะเป็น meningococcal serogroup B ซึ่งไม่มีในวัคซีนที่ใช้ในปัจจุบัน 
วัคซีนป้องกันโรคที่ใช้ในประเทศเป็นวัคซีนแบบที่มี 4 สายพันธุ์ คือ ซีโรกรุ๊ป A, C, Y และ W-135 ผู้ที่ควรได้รับวัคฃีนได้แก่ ผู้จะเดินทางไปพิธีฮัจย์และอุมเราะห์ 
ที่ประเทศซาอุดิอาระเบีย ต้องได้รับวัคซีนก่อนเข้าประเทศอย่างน้อย 10 วันโดยจะมีเอกสารรับรองการฉีดวัคซีน (yellow book) ผู้ที่จะเดินทางหรือไปอยู่อาศัยในพื้นที่ 
meningitis belt ประเทศสหรัฐอเมริกามีคำาแนะนำาให้ฉีดวัคซีนในวัยรุ่นและนักศึกษา และบุคคลที่ไม่มีม้าม(anatomic or functional asplenia) 
16. โรคงูสวัดพบอุบัติการณ์มากขึ้นตามอายุ โดยเฉพาะเมื่ออายุมากกว่า 50 ปี ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยในได้แก่ ภาวะ post-herpetic neuralgia พบได้ร้อยละ 
10 - 15 และพบบ่อยขึ้นและรุนแรงขึ้นในผู้สูงอายุ ปัจจุบันมีการใช้วัคซีนป้องกันโรคงูสวัด โดยการฉีดเข้าใต้ผิวหนังจำานวน 1 เข็ม 
17. บุคคลที่มีภาวะ severe immunosuppressive state หมายถึง ผู้ป่วยโรค combined primary immunodeficiency disorder, ผู้ป่วยที่อยู่ในระหว่างการได้รับยาเคมี
บำาบัดเพื่อรักษาโรคมะเร็ง บุคคลที่กำาลังได้รับยาคอรติโคสเตียรอยด์โดยเทียบได้กับยา prednisolone > 20 มก.ต่อวันเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ หรือกำาลังได้
รับยากดภูมิคุ้มกันในกลุ่ม biologic immune modulators เช่น tumor necrosis factor-alpha (TNF-α) blocker หรือ rituximab 
18. คำาแนะนำานี้มีที่ใช้สำาหรับกลุ่มผู้ป่วยภายหลังได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะหรือไขกระดูกไปแล้ว โดยการ ปลูกถ่ายอวัยวะที่หมายรวมถึงนี้ ได้แก่ ไต ตับ หัวใจ ปอด ตับอ่อน หรือการปลูกถ่ายที่มากกว่า หนึ่งอวัยวะขึ้นไป นอกจากนี้สมาชิกครอบครัว หรือผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคโดยการใช้แนวทางการพิจารณาการรับ
วัคซีนเช่นเดียวกับการฉีดวัคซีนในบุคลากรทางการแพทย์
19. หญิงตั้งครรภ์หากไม่เคยได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักมาก่อนให้ฉีดวัคซีน Td 3 ครั้ง (ในกรณีที่ไม่มี Td อาจใช้ TT ฉีดแทนได้) แต่หากมีประวัติได้รับวัคซีนป้องกัน
บาดทะยักภายใน 10 ปีไม่ต้องฉีดเข็มกระตุ้น อาจพิจารณาให้ Tdap แทน 1 ครั้ง ในช่วงตั้งครรภ์ 27-36 สัปดาห์
หมายเหตุ ค�าแนะน�าการให้วัคซีนป้องกันโรคส�าหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุฉบับสมบูรณ์และเอกสารอ้างอิงจะถูกแสดงใน Website ของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่ง

วัคซีนน้องเด็ก

http://www.pidst.net/files_khowledge/pidst_20130211112558_filekhow.pdf
 

วันพฤหัสบดีที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

น้อง Sylphy เช็คระยะ 20000 กม.

http://www.thaisylphyclub.com/index.php?topic=4752.0
*สิงที่ศูนย์จะนำเสนอ ให้ (ผมมองว่ามันยังไม่ถึงเวลา) มีดังนี้

-น้ำยาล้างเครื่องยนต์ ราคา 650 บาท *เอาไว้ซัก 30,000 โล หรือมากกว่า เพราะรถยังใหม่
-ล้างแอร์ ราคา 2,250 บาท *ปกติ ล้างกันตอน 40,000 โล

(สองรายการนี้ คิดให้ดีครับ อย่าไปตอบตกลงอะไร โดยไม่พิจารณาถึงความเหมาะสมครับ) ทั้งหมดผมเลยไม่รับบริการนี้ ครับ เอาตามที่จำเป็น ยัง 3,000 UP 

รีวิวโตเกียว ที่พักในโตเกียวแนะนำ ราคาสบายกระเป๋า


น่าสนใจนะ อ่านเจอที่พักราคาถูกที่ ชิลไปไหน
ขอแปะไว้ก่อนไปครั้งหน้าน้องขอของถูก

ปล.ลิ้งอยู่ด้านล่างค่ะ



 10 ที่พักญี่ปุ่น โตเกียว ราคาประหยัดราคาถูก (หลักร้อย-พันบาทต้นๆ)



1. ข้าวสารเวิล์ด อาซากุสะ โฮสเทล โตเกียว ญี่ปุ่น (Khaosan World Asakusa Hostel)




หนึ่งในที่พักของเครือข้าวสารที่ตกแต่งทันสมัย มีห้องพักให้เลือกหลายแบบ
การเดินทางก็ง่ายเพราะใกล้สถานีรถไฟอาซากุสะและแหล่งท่องเที่ยวย่านอาซากุสะ

ห้องรวม( 10 คน) ราคาเริ่มต้นที่ 700 บาท/คน
ห้องคู่ (2 คน) ราคาเริ่มต้นที่ 1,340 บาท /คน
 2. ข้าวสาร โตเกียว แลบอราทอรี ญี่ปุ่น (Khaosan Tokyo Laboratory)




ห้องรวม (3 คน) ราคาเริ่มต้นที่ 1,083บาท/คน
ในเรื่องราคายังคงต้องยกให้ที่พักในเครือข้าวสารอย่างแท้จริงกับ ข้าวสาร โตเกียว แลบอราทอรี
ที่เน้นดีไซน์ที่โมเดิร์น สีสันสดใสและยังตั้งอยู่ใกล้สถานีรถไฟอาซากุสะ
และแหล่งท่องเที่ยวในย่านอาซากุสะ

 3. พาเลซ เจแปน โตเกียว ญี่ปุ่น (Palace Japan)




ห้องรวม( 4 คน) ราคาเริ่มต้นที่ 764 บาท/คน
ห้องคู่ (2 คน) ราคาเริ่มต้นที่ บาท 1083 บาท/คน
ห้องเดี่ยว (1 คน) ราคาเริ่มต้นที่ บาท 1200 บาท /คน

พาเลซ เจแปน ที่พักในย่านมานามิเซนจู จุดดีของที่พักคือราคาไม่แพง สะอาด มีลิฟต์ภายในที่พัก แต่ข้อเสียคือห้องน้ำรวม แต่ทว่าก็ไม่เป็นปัญหาสำหรับนักเดินทางเพราะห้องน้ำของเขาสะอาดมากๆ


แผนที่




 4. ซากุระ โฮสเต็ล อาซากุสะ โตเกียว ญี่ปุ่น (Sakura Hostel Asakusa)





ห้องรวม( 8คน) ราคาเริ่มต้นที่ 1,060 บาท/คน
ห้องคู่ (2 คน) ราคาเริ่มต้นที่ บาท 1,400 บาท/คน


ที่พักในย่านอาซากุสะแนวโฮสเทล ราคาประหยัด ตั้งอยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยวในย่านอาซากุสะ
 เหมาะกับนักท่องเที่ยวแนวแบ็คแพ็คเกอร์เป็นที่สุด

 5. นูอิ โตเกียว เซ็นทรัล โฮสเทลญี่ปุ่น (Nui.Tokyo Central Hostel)





ห้องรวม( 8คน) ราคาเริ่มต้นที่ 860 บาท/คน
ห้องคู่ (2 คน) ราคาเริ่มต้นที่ บาท 1,200 บาท/คน


แค่เห็นบรรยากาศที่พักก็กรี๊ดแล้วกับ นูอิ โตเกียว เซ็นทรัล โฮสเทล ที่ออกแบบมาได้เท่ เก๋ แนว
เป็นที่สุดนอกจากนี้ยังมีบาร์ให้ได้นั่งชิลจิบเครื่องดื่มพูดคุยกับนักเดินทางอีกด้วย


แผนที่




 6. จูโยห์ โฮเต็ล โตเกียว ญี่ปุ่น (Juyoh Hotel)




ห้องเดี่ยว( 1 คน) ราคาเริ่มต้นที่ 1050 บาท/คน
ห้องคู่ (2 คน) ราคาเริ่มต้นที่ บาท 960 บาท/คน

ที่พักย่านมินามิเซนจูเหมาะสำหรับนักเดินทาง เพราะราคาถูกมากๆ
ซึ่งจะเป็นสไตล์โฮสเทลที่ต้องแชร์ห้องน้ำและห้องอาบน้ำ
ใครที่ไม่ชินในการใช้ห้องน้ำรวมกับคนอื่นอาจจะรู้สึกแปลกๆ
แต่รับรองว่าห้องน้ำของญี่ปุ่นนั้นส่วนมากจะสะอาด

แผนที่



 7. โอ๊คโฮสเทล เซน โตเกียว ญี่ปุ่น (Oakhostel Zen)




ห้องรวม( 16 คน) ราคาเริ่มต้นที่ 955 บาท/คน
ห้องเดี่ยว( 1 คน) ราคาเริ่มต้นที่ 2,229 บาท/คน
ห้องคู่ (2 คน) ราคาเริ่มต้นที่ บาท 1,195 บาท/คน

บัดเจ็ทโฮเทลที่ผสมผสานความเป็นเซน
โดยใช้การออกแบบที่เรียบง่ายตั้งอยู่ใกล้สถานี Uguisudani
คุณสามารถเดินทางไปสถานีรถไฟสายยามาโนเตะไลน์ได้โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาที
 8. ข้าวสาร โตเกียว นินจา ญี่ปุ่น (Khaosan Tokyo Ninja)





ห้องรวม( 20 คน) ราคาเริ่มต้นที่ 900 บาท/คน
ห้องคู่ (2 คน) ราคาเริ่มต้นที่ บาท 960 บาท/คน

ข้าวสารโตเกียวนินจา ที่พักในเครือข้าวสารที่ใช้ตีมของนินจามาออกแบบให้ที่พักดูเท่
โดยเฉพาะด้านหน้าทางเข้า เรียบง่าย สื่อถึงความเป็นญี่ปุ่นได้อย่างดี ที่พักตั้งอยู่ใกล้สถานีอาซากุสะ
สามารถเดินมาสถานีได้โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาที
 9. โฮเต็ล คูรามาเอะ (Hotel Kuramae)




ห้องเดี่ยว (1 คน) ราคาเริ่มต้นที่ บาท 1,720 บาท/คน
ห้องคู่ (2 คน) ราคาเริ่มต้นที่ บาท 1,120 บาท/คน

บิสสินเนสโฮเทล ขนาดย่อมที่เพียบพร้อมไปด้วยสิ่งอำนวยควมสะดวกทั้งทีวี
ตู้เย็น และห้องน้ำในตัว ตั้งอยู่ใกล้สถานี Kuramae


แผนที่




 10. Toco Tokyo Heritage Hostel โตเกียว ญี่ปุ่น

 

ที่นี่เป็นเกสต์เฮาส์ที่น่ารักมาก บ้านเป็นแบบบ้านโบราณของคนญี่ปุ่นที่เขานำมาทำเป็นเกสต์เฮาส์
ซึ่งหาบรรยากาศแบบนี้ได้ค่อนข้างยากสำหรับเมืองหลวงอย่างโตเกียว มีฟรีไวไฟ
ใกล้กับรถไฟใต้ดินสถานีอิริยะทำให้เดินทางง่าย ราคาประมาณ 1000 บาท/คน/คืน
บรรบากาศภายในที่พักดี แต่ค่อนข้างไกลสถานที่ท่องเที่ยวหลัก

ห้องรวม (8 คน) ราคาเริ่มต้นที่ 832 บาท/คน
ห้องคู่(2 คน) ราคาเริ่มต้นที่ 960 บาท/คน

เรื่อง นางสาวฮานะ---ขอบคุณที่มาค่ะ จากเวบชิลไปไหน
ที่มา http://www.chillpainai.com/scoop/1604/10-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B9%87%E0%B8%84%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B9%87%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7-%E0%B8%8D%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99-%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2-%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%86/



 นั่งอ่านพันทิปเพลินเจออันนี้ก็น่าสนใจ แต่ไกลไปนิดสสสส

เราตั้งใจจะรีวิวที่พักผ่านAirBnB เพราะมีหลายคนสงสัยว่ามันโอเคมั้ย เชื่อถือได้รึเปล่า

หลายคนอาจจะเคยได้ยินมาแล้ว แต่คนที่ไม่เคยได้ยิน เราจะแนะนำคร่าวๆนะคะ
www.airbnb.com

ตอนนี้เว็บมีภาษาไทยแล้ว ใช้ง่ายขึ้นเยอะเลย

เป็นเว็บไซต์ที่เราสามารถหาที่พักได้ทุกทั่วมุมโลก โดยเราจะไปพักกับโฮสซึ่งส่วนใหญ่แล้วก็จะเป็นคนในเมืองนั้น

หรือบางที่ เราก็อยู่กันเองเลยโฮสไม่ได้อยู่ด้วย

ที่พักของเราก็อาจจะเป็นบ้าน อพาร์ทเมนท์ ห้องพักในบ้านของโฮส แล้วแต่ที่ค่ะ บางที่อาจจะเป็นเกสต์เฮ้าส์ นอนรวมกันก็มี

ข้อดีที่เห็นชัดๆเลยคือเราจะได้เรียนรู้วิถีชีวิตของคนในเมืองนั้น ก็เหมือนไปแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอ่ะเนอะ

บางที่โฮสก็ทำอาหารให้ทานด้วยนะคะ บางที่โฮสก็ยินดีอาสาพาเที่ยว หรือซื้อตั๋วที่เที่ยวให้ด้วย

แต่ที่พักของเราเป็นอพาร์ทเมนท์ส่วนตัว เราไม่ได้เจอโฮสเลย

เราเดาว่าโฮสคงมีบ้านอยู่ที่อื่นอีก เลยเปิดที่นี่ให้เช่า

แต่โฮสก็แวะมาเก็บกวาด แถมซักผ้าให้เราอีกแน่ะ



เราไปกับน้องชายค่ะ เจอเว็บนี้โดยบังเอิญ หลังจากที่ตามหาที่พักราคาถูกอยู่นาน แต่เราเรื่องมากเรื่องห้องน้ำ ไม่อยากใช้ห้องน้ำรวม

แล้วโรงแรมที่มีห้องน้ำส่วนตัว ก็แพงเกินงบ เลยพยายามหาที่มีพักห้องน้ำส่วนตัวแต่ถูกแบบสุดชีวิต

ตอนเจอเว็บนี้ที่พักดีๆมีเยอะเลยค่ะ แต่ส่วนใหญ่เต็มหมดแล้ว เพราะเราจองล่วงหน้าไม่นาน เป็นทริปฉุกละหุก55555

เวลาเสิร์ชหาที่พักก็เลือกfilterตามที่ต้องการได้เลยค่ะ



ของเราเจอที่นี่
https://th.airbnb.com/rooms/711042



ที่ยังว่างช่วงที่เราไป จะอยู่ชานเมืองหน่อย โฮสตั้งชื่อที่พักว่า "ระหว่างโตเกียวกับโยโกฮาม่า"

มีรถไฟฟ้าKeikyu Lineไปถึง ลงสถานี เดินไม่ไกลก็ถึงแล้ว ใกล้สนามบินฮาเนดะด้วยค่ะ

หน้าทางเข้าซอยมีMax Valuเปิด24ชั่วโมงเรียกได้ว่าไม่อดตายแน่ๆ55555