วันพุธที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

วัคซีนผู้ใหญ่

http://www.pidst.net/userfiles/vaccine.pdf



Footnotes:
1. วัคซีนหลายชนิดสามารถให้พร้อมกันในวันเดียวได้แต่ต้องฉีดในตำาแหน่งที่ต่างกันและไม่นำาวัคซีนมาผสมกัน สำาหรับวัคซีนชนิดเชื้อเป็น (live-attenuated vaccine) 
ไม่ควรให้แก่หญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือกำาลังได้รับยากดภูมิคุ้มกันและผู้ที่เพิ่งได้รับผลิตภัณฑ์ของเลือดไม่เกิน 3 เดือน 
2. การให้วัคซีน Td ทุก 10 ปี (ในกรณีที่ไม่มี Td อาจใช้ TT ฉีดแทนได้) ตั้งแต่วัยรุ่นจะมีส่วนช่วยในการสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันโรคนี้ในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ การฉีดเข็ม กระตุ้น Td ในผู้ใหญ่มักกำาหนดให้ฉีดทุก 10 ปี และแนะนำาให้ฉีดวัคซีน Td แทนการใช้ TT ในเวชปฏิบัติทั่วไป 
3. อาจพิจารณาให้วัคซีนรวม Tdap เป็นการให้วัคซีนเข็มกระตุ้นโรคไอกรนในวัยรุ่น 1 ครั้งแทนการฉีดวัคซีน Td หรือ TT และหลายประเทศแนะนำาให้ฉีด Tdap ในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุแทน Td หรือ TT 1 ครั้งในช่วงชีวิตด้วย อาจพิจารณาให้วัคซีน Tdap 1 เข็ม ให้แก่หญิงตั้งครรภ์ในช่วงอายุครรภ์ 27-36 สัปดาห์แทน Td หรือ 
TT หรืออาจฉีด Tdap ทันทีหลังคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อไอกรนในทารก
4. ควรพิจารณาให้วัคซีนแก่ผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคและมีโอกาสสัมผัสและกระจายเชื้อมากเช่น บุคลากรทางการแพทย์ ครูหรือผู้ที่เลี้ยงเด็กจำานวนมาก หญิงวัยเจริญพันธุ์
ที่ยังไม่ต้องการตั้งครรภ์ ในกรณีที่ไม่ทราบหรือไม่มีประวัติเคยเป็นมาก่อนควรตรวจภูมิคุ้มกันโรคอีสุกอีใสก่อนให้วัคซีน ไม่มีความจำาเป็นต้องตรวจหาภูมิคุ้มกันภายหลัง ได้รับวัคซีน
5. ควรได้รับวัคซีนหัดโดยแนะนำาให้ฉีดวัคซีน MMR 1 เข็ม และกระตุ้นอีก1 เข็มห่างจากเข็มแรกอย่างน้อย 4 สัปดาห์ ในกรณีผู้ที่เรียนระดับอุดมศึกษาสัมผัสใกล้ชิด
กับผู้ป่วยโรคหัด หรือกำาลังมีโรคหัดระบาด รวมทั้งนักเรียนที่ต้องเดินทางไปศึกษาต่อต่างประเทศ บุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคหัดควรได้รับการฉีดวัคซีน
6. วัคซีนป้องกันเอชพีวีที่ใช้มี 2 ชนิด ได้แก่ วัคซีนเอชพีวีชนิด 4 สายพันธุ์ได้แก่ สายพันธุ์ 6,11,16 และ18 และวัคซีนเอชพีวีชนิด 2 สายพันธุ์ คือสายพันธุ์ 16 และ 18 ป้องกันมะเร็งปากมดลูก (ที่เกิดจากเชื้อ HPV 16,18) วัคซีนทั้งสองชนิดมีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อ HPV ป้องกันการคงอยู่ของเชื้อที่เกิดจากสายพันธุ์ ในวัคซีนและป้องกันรอยโรคก่อนเป็นมะเร็งปากมดลูก แนะนำาให้วัคซีนป้องกันเอชพีวีแก่เด็กวัยรุ่นหญิง ผู้หญิงอายุ 9-26 ปี ถึงแม้ว่าจะฉีดวัคซีนแล้วก็ควรให้คำาแนะนำา
เรื่องการมี safe sex และต้องมารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสมำ่าเสมอ 
7. แนะนำาฉีดวัคซีนเอชพีวีชนิด 4 สายพันธุ์แก่ผู้ชายที่มีอายุ 19-26 ปี โดยเฉพาะกลุ่ม ชายรักร่วมเพศเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชพีวีบริเวณทวารหนักและมะเร็งบริเวณ
ทวารหนักและอวัยวะเพศ
8. วัคซีนที่ใช้ในประเทศไทยในปัจจุบันเป็นชนิด 3 สายพันธุ์ได้แก่ split virion vaccine และ subunit vaccine เป็นวัคซีนที่ใช้ในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัด
ใหญ่ประจำาปี ดังนั้นจึงต้องฉีดวัคซีนทุกปีแม้จะเป็นสายพันธุ์เดิมของวัคซีนที่เคยฉีดก่อนหน้านี้ การให้วัคซีนแนะนำาให้ใช้โดยการฉีดเข้ากล้ามบริเวณต้นแขน ปัจจุบันมี
วัคซีนชนิด 3 สายพันธุ์ ฉีดเข้าในหนัง (intradermal route) พบว่าการฉีดเข้าในหนังให้ภูมิคุ้มกันที่ดีในผู้สูงอายุแต่อาจพบว่าผลข้างเคียงเฉพาะที่มากกว่าการฉีดวัคซีน
เข้ากล้าม สามารถใช้วัคซีนทั้งของซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ฉีดป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ได้ในประเทศไทย วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ไม่ควรให้แก่ผู้ที่มีประวัติแพ้ไข่
รุนแรงหรือผู้ที่มีประวัติเป็น Guillain–Barre syndrome มาก่อน สามารถให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ร่วมกับวัคซีนอื่นๆ ได้ในเวลาเดียวกันโดยฉีดวัคซีนคนละข้าง
ของต้นแขน 
9. กลุ่มประชากรที่ควรหรือมีข้อบ่งชี้ในการได้รับวัคซีนได้แก่ กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่อาจเกิดโรคแทรกซ้อนหรือมีอาการไข้หวัดใหญ่รุนแรง ได้แก่ บุคคลที่อายุ 65 ปี ขึ้นไป บุคคลที่เป็นโรค COPD รวมทั้งโรคหอบหืด โรคหัวใจ บุคคลที่ต้องเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาลอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งจากโรคเรื้อรังได้แก่ โรคเบาหวาน โรคไต โรคเลือด หรือมีภูมิคุ้มกันบกพร่อง รวมทั้งผู้ที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ในช่วงไตรมาสที่ 2 และ 3 กลุ่มที่สามารถแพร่โรคไปสู่กลุ่มเสี่ยงสูง 
(บุคลากรทางการแพทย์และห้องปฏิบัติการ) บุคคลที่พักอยู่ในบ้านเดียวกับประชากรที่มีความเสี่ยงสูง)และควรพิจารณาให้ในประชาชนทั่วๆ ไปที่ประสงค์จะป้องกัน โรคนี้ได้
10. การให้วัคซีนป้องไวรัสตับอักเสบเอจะเน้นไปที่วัยรุ่นและผู้ใหญ่ตอนต้น วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบเอ ควรฉีดที่กล้ามเนื้อต้นแขน โดยฉีด 2 ครั้งห่างกัน 6-12 เดือน นอกจากนี้ยังมีวัคซีนผสมระหว่างตับอักเสบเอและบีแต่ต้องให้ 3 ครั้ง (0,1และ 6 เดือน) ทางกล้ามเนื้อต้นแขน โดยทั่วไปไม่ต้องตรวจ anti HAV หลังการฉีดวัคซีน ครบตามกำาหนด
11. การฉีดวัคซีนป้องกันตับอักเสบบีมักแนะนำาในผู้ที่อยู่ในกลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดโรคได้ง่าย ได้แก่ ผู้ติดยาเสพติด รักร่วมเพศ ผู้ป่วยโรคไตที่ทำาการฟอกไต ผู้ป่วยที่ได้รับ 
เลือดบ่อย บุคคลในครอบครัวที่ตรวจพบไวรัสตับอักเสบบี แพทย์ หรือทันตแพทย์ หรือบุคคลที่ทำางานสัมผัสกับเลือด ฉีดวัคซีนเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน 3 ครั้งที่ 0, 1 
และ 6 เดือน โดยทั่วไปการตรวจ antiHBs หลังการฉีดวัคซีนครบตามกำาหนด 1 เดือนไม่มีความจำาเป็น จะตรวจเลือดเมื่อผู้นั้นมีความเสี่ยงสูงที่จะติดโรคเช่น บุคลากร
ทางการแพทย์ 
12. ข้อบ่งชี้ของการใช้วัคซีน PPV-23 คือ บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือผู้ที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหากมีการติดเชื้อ ได้แก่ อายุมากกว่า 65 ปี อายุ
มากกว่า 2 ปี - 65 ปีที่มีภาวะ anatomic or functional asplenia, ผู้ที่มีโรคประจำาตัวเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวานที่มีการควบคุมระดับนำ้าตาลในเลือดไม่ดี โรคหัวใจวาย 
cardiomyopathy, COPD, โรคตับแข็ง โรคไตวายเรื้อรัง มีการรั่วของนำ้าไขสันหลัง โรคหอบหืด ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำา บุคคลที่มีภาวะ severe immunosuppressive 
state (ข้อ17) และ ผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะหรือไขกระดูก ส่วนการพิจารณาให้ฉีดซำ้า 1 ครั้งมีข้อบ่งชี้คือ ฉีดหลังจากเข็มแรก 5 ปีในกรณีผู้ป่วยที่ไม่มีม้าม หรือ
ฉีดวัคซีนซำ้าในอายุ 65 ปีกรณีผู้ป่วยที่เคยได้รับวัคซีนเข็มแรกก่อนอายุ 65 ปี การแนะนำาให้ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นโดยใช้วัคซีน PCV-13 ภายหลังการได้รับวัคซีน PPV-23 
แก่ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องเพื่อให้มีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อสูงขึ้นต้องฉีดภายหลังได้รับวัคซีน PPV-23 ไม่น้อยกว่า 1 ปี 
13. ข้อบ่งชี้ของการใช้วัคซีน PCV-13 คือ บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือผู้ที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหากมีการติดเชื้อโดยพิจารณาฉีดแก่ผู้ใหญ่และ ผู้สูงอายุ ควรเลือกใช้วัคซีนชนิด PCV-13 ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้ของการฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อนิวโมคอคคัสโดยเฉพาะในผู้ที่มีโรคประจำาตัวเรื้อรังหรือผู้ที่มีภาวะ
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง แนะนำาให้ฉีดเข้ากล้าม 1 เข็มและยังไม่มีคำาแนะนำาให้ฉีดกระตุ้นโดยใช้วัคซีน PCV-13 ในคนทั่วไป การแนะนำาให้ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นด้วยวัคซีน 
PPV-23 ภายหลังการได้รับวัคซีน PCV-13 แก่ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องเพื่อให้สามารถครอบคลุมการติดเชื้อจากสายพันธุ์อื่นได้มากขึ้นต้องฉีดภายหลังจากการ
ได้รับวัคซีน PCV-13 ไม่น้อยกว่า 2 เดือน 
14. พิจารณาความจำาเป็นในการได้รับวัคซีนเกี่ยวกับการเดินทางอื่นๆ การแนะนำาวัคซีนในผู้เดินทางต้องคำานึงถึง ประวัติรับวัคซีน ประเทศหรือพื้นที่ที่จะไป แผนการ
เดินทาง ระยะเวลาที่จะเดินทาง 
15. อุบัติการณ์ของการติดเชื้อในประเทศไทยมีประปรายไม่มาก พบว่าร้อยละ 70 ของเชื้อก่อโรคจะเป็น meningococcal serogroup B ซึ่งไม่มีในวัคซีนที่ใช้ในปัจจุบัน 
วัคซีนป้องกันโรคที่ใช้ในประเทศเป็นวัคซีนแบบที่มี 4 สายพันธุ์ คือ ซีโรกรุ๊ป A, C, Y และ W-135 ผู้ที่ควรได้รับวัคฃีนได้แก่ ผู้จะเดินทางไปพิธีฮัจย์และอุมเราะห์ 
ที่ประเทศซาอุดิอาระเบีย ต้องได้รับวัคซีนก่อนเข้าประเทศอย่างน้อย 10 วันโดยจะมีเอกสารรับรองการฉีดวัคซีน (yellow book) ผู้ที่จะเดินทางหรือไปอยู่อาศัยในพื้นที่ 
meningitis belt ประเทศสหรัฐอเมริกามีคำาแนะนำาให้ฉีดวัคซีนในวัยรุ่นและนักศึกษา และบุคคลที่ไม่มีม้าม(anatomic or functional asplenia) 
16. โรคงูสวัดพบอุบัติการณ์มากขึ้นตามอายุ โดยเฉพาะเมื่ออายุมากกว่า 50 ปี ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยในได้แก่ ภาวะ post-herpetic neuralgia พบได้ร้อยละ 
10 - 15 และพบบ่อยขึ้นและรุนแรงขึ้นในผู้สูงอายุ ปัจจุบันมีการใช้วัคซีนป้องกันโรคงูสวัด โดยการฉีดเข้าใต้ผิวหนังจำานวน 1 เข็ม 
17. บุคคลที่มีภาวะ severe immunosuppressive state หมายถึง ผู้ป่วยโรค combined primary immunodeficiency disorder, ผู้ป่วยที่อยู่ในระหว่างการได้รับยาเคมี
บำาบัดเพื่อรักษาโรคมะเร็ง บุคคลที่กำาลังได้รับยาคอรติโคสเตียรอยด์โดยเทียบได้กับยา prednisolone > 20 มก.ต่อวันเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ หรือกำาลังได้
รับยากดภูมิคุ้มกันในกลุ่ม biologic immune modulators เช่น tumor necrosis factor-alpha (TNF-α) blocker หรือ rituximab 
18. คำาแนะนำานี้มีที่ใช้สำาหรับกลุ่มผู้ป่วยภายหลังได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะหรือไขกระดูกไปแล้ว โดยการ ปลูกถ่ายอวัยวะที่หมายรวมถึงนี้ ได้แก่ ไต ตับ หัวใจ ปอด ตับอ่อน หรือการปลูกถ่ายที่มากกว่า หนึ่งอวัยวะขึ้นไป นอกจากนี้สมาชิกครอบครัว หรือผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคโดยการใช้แนวทางการพิจารณาการรับ
วัคซีนเช่นเดียวกับการฉีดวัคซีนในบุคลากรทางการแพทย์
19. หญิงตั้งครรภ์หากไม่เคยได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักมาก่อนให้ฉีดวัคซีน Td 3 ครั้ง (ในกรณีที่ไม่มี Td อาจใช้ TT ฉีดแทนได้) แต่หากมีประวัติได้รับวัคซีนป้องกัน
บาดทะยักภายใน 10 ปีไม่ต้องฉีดเข็มกระตุ้น อาจพิจารณาให้ Tdap แทน 1 ครั้ง ในช่วงตั้งครรภ์ 27-36 สัปดาห์
หมายเหตุ ค�าแนะน�าการให้วัคซีนป้องกันโรคส�าหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุฉบับสมบูรณ์และเอกสารอ้างอิงจะถูกแสดงใน Website ของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่ง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น