วันพฤหัสบดีที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

CPG Cerebrovascular disease


Cerebrovascular disease – เรียกทั่วไป ว่า Stroke

แบ่งเป็น

1.       Ischemic stroke หลักการเบื้องต้น มี 4 ขั้นตอนดังนี้

1.1                         acute resuscitation

-          A  maintenance adequate of  airway and  ventilation

-          B  maintenance adequate of blood volume and blood pressure

-          C  Correction of hyperglycemia

ภาวะ hyperglycemia จากภาวะ stress ถ้าน้ำตาลสูงอัตราการตายเพิ่ม ควรควบคุมให้น้อยกว่า 140  จะส่งผลให้อาการทางสมองแย่ลง ควรได้ NSS, hyperthermia and low cardiac out put

    

1.2                         reperfusion of ischemic brain

-          Thrombolytic therapy (การลดอุณหภูมิกาย)

-          Hypervolemic (การให้ IV เพื่อให้ความดันโลหิตสูง) Hemodilution

-          Anticoagulant

1.3                        Decreasing cerebral metabolism demands—hypothermia 27-30 and barbiturate แต่ถ้าลดมากไปร่างกายจะมี cardiac arrhythmia และ cardiac arrest  ตามมา

1.4                         Inhibition the degradative ischemic cascade

-          Calcium antagonist (ลดอาการหลอดเลือดเกร็งตัว)

-          Excitatory amino acid antagonist

-          Free radical scarvengers

2.       Hemorrhagic stroke หลักการเบื้องต้น คือ พยายามลด ICP คือให้ hyperventilation และ osmotic diuretic ร่วมกับยาขับปัสสาวะ ระยะแรกมักจะอาการความดันสูงเนื่องจากร่างกาย พยายามที่จะปรับเพิ่มเลือดไปเลี้ยงที่สมอง การดูแลจึงเพียงคุมความดันไม่ให้สูงเกินไป เนื่องจากอาจจะมีภาวะเลือดออกซ้ำได้ โดยให้ systolic ไม่ต่ำกว่า 160-170  ส่วน diastolic ไม่ต่ำกว่า 90-100

เมื่อไหร่ต้องปรึกษา neurological Sx

1.       GCS <= 13

2.       Hematoma >30 ml (0.5  * X*Y*Z) ขนาดก้อนในแนวระนาบ z=จำนวนสไลด์ * ความหนาฟิลม 1//x y วัดในสไลด์ที่ก้อนเลือดออกใหญ่ที่สุด

3.       Midline shift > 0.5 cm

4.       ก้อนเลือดที่ temporal lobe /cerebellum มีโอกาส early brain herniation

แบ่งเป็น

2.1                        Lobar Hemorrhage คือ intracerebral hemorrhage แบ่งเป็น cortical or subcortical มักไม่ได้เกิดจาก HT มักเกิดจากสาเหตุอื่น เช่น aneurysm ,AVM  ถ้าพบข้อบ่งชี้ด้านบนมากกว่าเท่ากับ 2 ข้อควรผ่าตัด  พิจารณาทำ angiography  ในเคสอายุน้อยกว่า 45 และไม่ได้เป็นโรคความดันโลหิตสูง หากสงสัยว่ามีความผิดปกติของเส้นเลือด คือเห็น enlarged vessel หรือ calcified ที่ของของ hematoma , hyperdensity of dura venous sinus และ cortical vein ที่น่าจะเป็น venous drainage  ของ hematoma

2.2                         Non-lobar hemorrhage คือ intracerebral hemorrhage ที่ basal ganglia (putamen) , thalamus , cerebella (มักจะตามมาด้วยการ IICP และกดก้านสมอง) ,brain stem <pons> มีความเสี่ยงสูงถ้ามีการผ่าตัด หรืออาจะมั repeated episode// ถ้าอายุมากกว่า 45 และมี HT มักจะเป็น Hypertensive hemorrhage ถ้าพบข้อบ่งชี้ด้านบนมากกว่าเท่ากับ 2 ข้อควรผ่าตัด

2.3                         SAH subarachnoid hemorrhage ปวดหัวรุนแรงทันที อาจจะหมดหรือไม่หมดสติกะได้ สาเหตุ ได้แก่ ruptured aneurysm , AVM ,blood dyscrasia , head injury , parasite สงสัยให้ทำ CT ถ้าไม่เจอให้ LP

***หน้า 43 /44ยาแนวทางปฏิบัติ***

Hydrocephalous  evans ratio .0.3

แบ่งตาม clinical

1.       TIA transient ischemic attack  ความผิดปกติหายสมบูรณ์ภายใน 24 ชั่วโฒง

2.       RIND reversible ischemic neurological deficit ความผิดปกติหายสมบูรณ์ใน weeks

3.       Cerebral infarction อาการจะดีขึ้นในเวลาเป็นเดือน แต่จะไม่หายเป็นปกติ

3.1   lacunar infarction มักมีอาการชาอ่อนแรงข้างใดข้างหนึ่ง หรืออาการเซอย่างเดียว แต่มักไม่มีซึมลง กลุ่มนี้เป็นปกติค่อนข้างเร็ว จะอาการดีขึ้นใน 2-3 สัปดาห์

3.2   minor cerebral infarction มักเป็นอาการขาดเลือดที่ตำแหน่งไม่ใหญ่มาก ผู้ป่วยมักจะซึม  แต่มักไม่มีอาการสองบวม หรือ IICP

3.3   major cerebral in farction เป็นอาการขาดเลือดเป็นบริเวณกว้าง ผู้ป่วยมักซึมตั้งแต่แรก หรือค่อยซึมลงใน 72 ชั่วโมง เนื่องจากสอมงบวม และ IICP ที่ตามมา ผุ้ป่วยมักมีอาการผิดปกติหลายอย่างรวมกัน เช่น แขนขาอ่อน หน้าเบี้ยว หรือตามองเห็นครึ่งซีก

สาเหตุ

Thrombosis มักเป็นตอนเช้า  อาการมากที่สุดทันที หรือค่อยๆมีอาการมากขึ้นเรื่อยๆ ภายใน 1-2 วัน แต่ไม่เกิน 7 วัน มักไม่มีอาการชัก อาจจะสมองบวมภายใน 72 ชั่วโมง

Embolism มักเกิดหลังจากตื่นนอน หรือเวลาใดก็ได้ อาการเป็นมากที่สุดทันที อาการชักมีได้บ่อย เนื่องจากหลุดของ emboli ทำให้สมองขากออกซิเจน  สมองบวมภายใน 72 ชั่วโมง

Hemoorrhage  เกิดขณะที่ออกแรง เป็นมากที่สุดทันที อาจจะมีอาการชักได้ ขึ้นอยู่กับตำแหน่งเลือดออก สมองบวมภายใน 24 ชั่วโมง

Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke

Acute Ischemic Stroke

เป้าหมายคือการให้ fribrinolytic ภายใน 60 นาที หลังจากที่มา ER

การใช้ Stroke rating scale

Work up อะไรบ้าง

-          Hematologic,coagulation,

-          Biochemistry

-          blood glucose ก่อนให้ intravenous rTPA

-          ตรวจคลื่นหัวใจ Lab troponin

-          Chest x-ray เป็นข้อมูล Baseline แต่ต้องไม่ทำให้เสียเวลาในการให้intravenous rTPA

-          Blood test • High cholesterol, sugar level, blood clotting time

-          Brain Imaging Test • CT Scan - detect bleeding in brain (hemorrhagic stroke) • MRI – detect damaged brain tissue • MRA (Magnetic Resonance Angiography) – visualize narrowing blood vessel

-          Heart & Blood Vessel Test • Carotid ultrasonography- clotting in arteries leading to brain

-          Catheter angiography (arteriography)

-          Leg Ultrasound • Detect blood clot in deep vein in legs • Clot movement to brain leads to stroke

-          Electrocardiogram (ECG) • Identify problem with electrical conduction of heart • Regular heart beat rhythmic pattern smooth blood flow • Defect arrhythmia form blood clot stroke

-          Transcranial Doppler (TCD) • Sound waves – measure blood flow blood vessel of hemorrhagic area

การวินิจฉัย

จาก Brain and Vascular imaging • ทา CT non contrast เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ • CT non contrast and MRI ความทำก่อนให้ intravenous rTPA

ควรให้ intravenous rTPAในระยะเริ่มต้นเมื่อมีอาการ • Noninvasive intracranial vascular study is strongly recommended • intravenous fribrinolysis ควรให้ทันทีภำยใน 45 นาที หลังอ่ำนผล CT

การดูแลและรักษาภาวะแทรกซ้อนอย่างฉับพลัน

• Cardiac monitoring เพื่อดูภาวะ cardiac arrhythmia หรือภาวะ Atrial fribrillation

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและรักษาโดยให้ intravenous rTPA ควรคุม systolic<185 mmHg,Diastolic<110 mmHg และ <180/105 mmHg อย่ำงน้อยภำยใน 24 ชัว่โมงหลังได้ intravenous rTPA

ผ้ปู่วย BP สูงไม่ควรได้รับ fribrinolysis

• Airway and ventilation support O2 sat>94%

หากมีภาวะ Hyperthermia (BT>38 c ) ควรให้ยาลดไข้

ติดตาม BP ในผู้ที่ต้องทา intervention เกี่ยวกับหลอดเลือด

รักษา

-Hypovolemia ด้วย intravenous NSS

-รักษา hypoglycemia CBG<60 mg%

- การให้ antihypertensive therapy ภายใน 24ชม ค่อนข้างปลอดภัย

-Hyperglycemia เกิดภายใน 24 ชม แรกให้ผลลัพธ์ที่ค่อนข้างแย่ keep 140-180 mg%

- การให้oxygen ไม่แนะนาในผู้ป่วยที่ไม่ได้มีภาวะ Hypoxic

Intravenous Fribrinolysis

Dosage 10% bolus in 1 min 90% infuse in 60 min

Consider Thrombolytic Treatment -18+ -Onset 3hr -BPs<185mmHg, BPd<110 mmHg -No seizure, No Wafarin , PT < 15 sec., INR < 1.7 -No heparin within 48 hrs. Plt >100,000 -BS 50-400 mg% -No acute MI, AVM, aneurysm, IICP, เนื้องอกในสมอง -ไม่เคยผ่าตัดในระยะ 14 วัน,ไม่บาดเจ็บในสมอง ระยะ3 เดือน - ไม่อยู่ในระยะหลังคลอด หรือ ให้ นมบุตร 30 วัน

Intravenous Fribrinolysis • Intravenous rtPA ให้ยาภายใน 3-4.5 ชม มีผลคล้ายคลึงกับให้ยา ภายใน 3 ชม. ยกเว้นในกลุ่ม อายุ >80ปี,ใช้ anticoagulants.NIHSS score >25,Ischemic injury >1/3ของพนื้ที่ middle cerebral artery,ผู้ป่วยที่มีประวัติทั้ง stroke and DM อยู่เดิมการให้ Intravenous rtPA ควรคุม BP<185/110 mmHg • ผู้ที่ได้รับFribrinolysis เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนเช่น Bleeding,Angioedema(สาเหตุของทางเดินหายใจอุดตัน)

Intravenous Fribrinolysis การใช้Intravenous Fribrinolysisในผู้ป่วย mild stoeke deficit,หลังผ่าตัดใหญ่ช่วง 3 เดือน และมีภาวะ MI ควรระวังการใช้ยา

Endovascular intravention • Sonothrombolysis,Tenecteplase,Desmoteplase,Urokinase ,Streptokinase ไม่เป็นที่นิยมและไม่แนะนาให้ใช้ผู้ที่รักษา 3-4.5 ชมหลังเกิด stroke แตอ่ายุ >80ปีใช้ anticoagulants(แม้ INR<1.17)มีส่วนให้ Intravenous rtPA ออกฤทธ์ไม่ดีควรให้ Intravenous rtPA ถึงแม้ว่าจะรักษาด้วย Intra-arterial fribrinolysis • Intra-arterial fribrinolysis ใช้รักษา major ischemic stroke มีระยะเกิด <6 hr สาเหตุเกิดจากการอุดตันของ middle cerebral artery

Anticoagulants • Argatroban and Thrombin inhibitor รักษา Acute ischemic stroke ไม่เป็นผลดี • Anticoagulantsในผู้มีภาวะ severe stenosis at internal caroiid arteryไม่เป็นผลดีให้ Anticoagulants อย่างเร่งด่วนอาจ เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดภาวะ ICH • ไม่แนะนาให้ Anticoagulants ร่วมกับ rtPA ใน 24ชม

Antiplatelet Agent • การให้ยา ASA 325 mg ภายใน 24 – 48 ชม หลังเกิด stroke แนะนาในการรักษา ผู้ป่วยส่วนใหญ่การใช้ยา Clopidogrel(Plavix) รักษา Acute ischemic stroke ไม่เป็นผลดีประสิทธิภาพของยา Tirofibon and Eptifibatide ไม่เป็นผลดี • ASA ไม่แนะนาใช้ร่วม Intravenous fibrinolysis ภายใน 24 ชั่วโมง

Volum expansion,Vasodilators,Induced Hypertension • Vasopressors ช่วยเพิ่ม crerebral blood flow • ให้ albumin high does ไม่เป็นผลดีการทา ให้ความเข้มข้นของเลือดลดลงโดยเพิ่ม volum เพิ่ม ไม่เป็นผลดีการให้ Vasodilater : Pentoxifyline ไม่แนะนา

Neuroprotective Agent • การให้statin รักษาอย่างต่อเนื่องในช่วง acute period • ภาวะ Hopothermia รักษาภาวะ รักษา Acute ischemic stroke ไม่เป็นผลดีการทา transcranial near-infrared laser ไม่เป็นผลดี • Neuroprotective Agent และใช้ Hyperbonic oxygen ไม่เป็นที่แนะนา Surgical intervention ผู้ป่วย unstable neurological status ประสิทธิภาพของการทา carotid endaterctomyไม่เป็นผลดี

Admission to the hospital and General acute traetment Stroke unit ควรมี Rehabilitation เข้ามามีส่วนร่วมผู้ที่สงสัยมีภาวะ Pnemonia or UTI ควรได้รับยา ATB • การให้ยา anticoagulation ในผู้ป่วยไม่มีการเคลื่อนไหวควรป้องกันภาวะ DVT • ประเมินการกลืนก่อนให้ผู้ป่วยเริ่มกินหรือดื่ม หากไม่สามรถกินได้ NG feed • กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้เคลื่อนไหว • ASA สามารมให้ในผู้ป่วย ที่ไม่สามารรับ anticoagulationได้เพื่อป้องกันภาวะ DVT • การให้สารอาหาร ,ATB routine ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ไม่แนะนาให้ retian foley’s cath เสี่ยง UTI ได้

Treatment of acute Neurological complication • ผู้ป่วยที่ Major infraction high risk for Brain edema และเพิ่ม IICP ควรเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด • Decompressive surgical เพ่อืป้องกันภาวะ Herniation and Brain stem compression

Recurrent seizure after storke รักษาด้วย antiepileptic agent พิจารณาใน ผู้ป่วยแตล่ะรายการใส่ Venticular drain ใช้ในผู้ป่วย hydrocephalus • การให้ยา Hydrocortisone,anticonvoulsants เป็น prophylactic ไม่แนะนา







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น